ชูชก ในสมัยโบราณถือว่า เป็นขอทานผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งขอได้แม้กระทั่งพระมเหสี พระราชบุตร และ พระราชธิดา ของพระพุทธเจ้า จึงได้มีการสร้างรูปชูชก เพื่อเป็นอุปเท่ห์ในการขอ ในการซื้อขาย การเจรจาติดต่อธุรกิจ
ชูชก วัดพุทไธศวรรย์ สร้างตามตำราหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ และลงเหล็กจารโดยครูเย็น คำมี ลูกบุญธรรมหลวงปู่ทิม
เนื้อเงิน เนื้อเงิน โค๊ด “7” ข้างเท้าขวา
เนื้องาช้าง จำนวนสร้าง ๑๐๐ อัน มีจารลายมือครูเย็น
เนื้อเงิน จำนวนสร้าง ๒๐๐ อัน และ เนื้อโลหะผสม จำนวนสร้าง ๒,๐๐๐ อัน
ตอกโค๊ด “7” ข้างเท้าขวา
สร้างปี ๒๕๔๘ เนื้อทองลำอู่ จำนวนสร้าง ๒,๐๐๐ อัน
ตอกโค๊ด “พระปรางค์” ข้างเท้าซ้าย
สร้างปี ๒๕๔๙ มี ๒ เนื้อ
เนื้อเงิน จำนวนสร้าง ๖๐๐ อัน และ เนื้อโลหะผสม ทองลำอู่ จำนวนสร้าง ๓,๐๐๐ อัน
ตอกโค๊ด “๔” ข้างเท้าขวา