พระกริ่งชัยวัฒน์จตุคามรามเทพสะท้านฟ้าโภคทรัพย์


เป็นวัตถุมงคลที่หลวงพ่อโชติจัดสร้างขึ้นเพื่อ ให้ลูกศิษย์และผู้ที่ศรัทธาในองค์ท่านพ่อจตุคามรามเทพ ร่วมทำบุญเป็นเจ้าภาพกองกฐิน วัดพุทไธศวรรย์ ปี ๒๕๔๘ มีพิธีมหาเทพเทวาภิเษกอย่างยิ่งใหญ่ ณ พระอุโบสถ วัดพุทไธศวรรย์ โดยมีเกจิคณาจารย์นั่งปรกคือ หลวงปู่หวล วัดพุทไธศวรรย์, หลวงปู่ทิม วัดพระขาว, หลวงพ่อรว วัดตะโก, หลองพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว, หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน, หลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติฯ, หลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาบางปูน, พระครูใบฎีกาปราณพ วัดคอหงษ์, หลวงพ่อธรรมนูญ วัดเขากุน และหลวงพ่อโชติ วัดพุทไธศวรรย์ เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และออกให้ทำบุญในวันที ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

เนื้อทองมาหสัตตะโลหะ จำนวนสร้าง ๑๕ องค์

เนื้อเงินมหาสัตตะโลหะ จำนวนสร้าง ๓ องค์

พระกริ่งสะท้านฟ้าโภคทรัพย์ เนื้อทองคำ, เงิน, นาก, เป็นพระกริ่งเนื้อพิเศษ ที่ให้บูชาเป็นชุด พร้อมกับพระชัยวัฒน์ เนื่อทองคำ, เงิน, นาก และพระกริ่งเนื่อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นนวะโลหะอีก ๑ องค์ จำนวนสร้าง ๑๒ ชุด

เนื้อทองคำ ฐานปิดแผ่นทองคำ
ตอกโค๊ดใต้ฐาน ๓ โค๊ด โค๊ด “พระปรางค์” ด้านบน, “พระบรมธาตุ” ด้านซ้าย, “ราหู” ด้านขวาของสัญญลักษณ์ พธศ.

เนื้อเงิน ฐานปิดแผ่นเงิน
ตอกโค๊ดใต้ฐาน ๓ โค๊ด โค๊ด “พระปรางค์” ด้านบน, “ราหู” ด้านซ้ายและด้านขวาของสัญญลักษณ์ พธศ.

เนื้อนาก ฐานปิดแผ่นนาก
ตอกโค๊ดใต้ฐาน ๓ โค๊ด โค๊ด “พระปรางค์” ด้านบน, “ราหู” ด้านซ้าย, “พระบรมธาตุ” ด้านขวาของสัญญลักษณ์ พธศ.

เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นนวะโลหะ
ตอกโค๊ดใต้ฐาน ๓ โค๊ด โค๊ด “พระบรมธาตุ” ด้านบน, “พระปรางค์” ด้านซ้ายและด้านขวาของสัญญลักษณ์ พธศ.
(สมนาคุณให้กับผู้ทำบุญพระกริ่งชุดพิเศษ เนื้อทองคำ, เงิน, นาก)

เนื้อจ้าวน้ำเงิน ฐานปิดแผ่นนวะโลหะ จำนวนสร้าง ๕ องค์

เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นจ้าวน้ำเงิน จำนวนสร้าง ๓๙ องค์

เนื้อจ้าวน้ำเงิน ฐานปิดแผ่นทองคำ จำนวนสร้าง ๓๕ องค์

เนื้อจ้าวน้ำเงิน ฐานปิดแผ่นจ้าวน้ำเงิน จำนวนสร้าง ๒๓๙ องค์
ตอกโค๊ด “ราหู” ด้านหลัง หน้าคำว่า จตุคามรามเทพ และใต้ฐาน เหนือสัญญลักษณ์ พธศ.

พระกริ่งสะท้านฟ้าโภคทรัพย์ เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นทองคำ, เงิน, นาก เป็นพระกริ่ง ที่ให้บูชาเป็นชุดพร้อมกับพระชัยวัฒน์ เนื้อนวะโลหะ จำนวน ๓ องค์ และ พระกริ่งเนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นเงินอีก ๑ ชุด จำนวนสร้าง ๗๖ ชุด

เนื้อนวะโลหะ ฐานปืดทองแผ่นทองคำ
ตอกโค๊ด อักขระ “นะ” ๒ ตัวตามด้วยหมายเลข ที่ด้านหลังข้างแขนซ้ายราหู และ โค๊ด “พระบรมธาตุ”
๓ โค๊ด ใต้ฐาน วางเยื้องกัน เหนือสัญลักษณ์ พธศ.

เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นเงิน
ตอกโค๊ด อักขระ “นะ” ๒ ตัวตามด้วยหมายเลข ที่ด้านหลังข้างแขนซ้ายราหู และ โค๊ด “พระบรมธาตุ”
๓ โค๊ด ใต้ฐาน วางเยื้องกัน เหนือสัญลักษณ์ พธศ.

เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นนาก
ตอกโค๊ด อักขระ “นะ” ๒ ตัวตามด้วยหมายเลข ที่ด้านหลังข้างแขนซ้ายราหู และ โค๊ด “พระบรมธาตุ”
๓ โค๊ด ใต้ฐาน วางเยื้องกัน เหนือสัญลักษณ์ พธศ.

เนื้อนวะโลหะ ฐานปิดแผ่นเงิน จำนวนสร้าง ๑,๔๑๘ องค์
ตอกโค๊ด “พระบรมธาตุ” ใต้ฐาน ด้านบนตัวอักขระ หน้าสัญญลักษณ์ พธศ.

เนื้อเงิน ฐานปิดแผ่นนวะโลหะ จำนวนสร้าง ๑,๒๐๐ องค์
ตอกโค๊ด “พระบรมธาตุ” ใต้ฐาน บริเวณด้านล่างตัวอักขระ หน้าสัญญลักษณ์ พธศ.
และอักษร “ง” ด้านหลัง หน้าคำว่าจตุคามรามเทพ


เนื้อปลอกลูกปิน จำนวนสร้าง ๖,๐๕๕ องค์
ตอกโค๊ด “พระปรางค์” ใต้ฐาน บริเวณด้านล่างตัวอักขระ หน้าสัญญลักษณ์ พธศ.
และอักษร “ป” ด้านหลัง หน้าคำว่าจตุคามรามเทพ

เนื้อสัมฤทธิ์ จำนวนสร้าง ๖,๐๕๕ องค์
ตอกโค๊ด “พระปรางค์” ใต้ฐาน บริเวณด้านบนสัญญลักษณ์ พธศ.
และอักษร “ส” ด้านหลัง หน้าคำว่าจตุคามรามเทพ

เนื้อทองแดง จำนวนสร้าง ๑,๕๒๔ องค์
ตอกโค๊ด “พระปรางค์” ๒ โค๊ด ใต้ฐาน บริเวณด้านบนสัญญลักษณ์ พธศ.
และอักษร “ด” ด้านหลัง หน้าคำว่าจตุคามรามเทพ

เนื้อนวะโลหะ ใต้ฐานฝังตะกรุดทองคำคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๑๒๙ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอัขระ “น” ตามด้วยหมายเลข ที่ใต้ฐาน

เนื้อนวะโลหะ ใต้ฐานฝังตะกรุดเงินคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๗๙ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอัขระ “นะ” และ อักษร “ง ง” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อทองแดง ใต้ฐานฝังตะกรุดทองคำคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๔๘ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอัขระ “ท” และ “ด” ตามด้วยหมายเลข ที่ใต้ฐาน

เนื้อทองแดง ใต้ฐานฝังตะกรุดทองคำ-เงิน อุดผงพรายกุมาร (ชุดกรรมการ) จำนวนสร้าง ๕๖ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอัขระ “นะ” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อทองแดง ใต้ฐานฝังตะกรุดเงินคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๓๐๙ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอักษร “ด ง” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อทองแดง ใต้ฐานฝังตะกรุดทองแดงคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๙๗๒ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอักษร “ด ด” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อทองแดง ใต้ฐานฝังตะกรุดตะกั่ว อุดผงพรายกุมาร (กรรมการ) จำนวนสร้าง ๕๖ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอักษร “นะ” ๒ ตัว ด้านหลัง ข้างแขนซ้ายและแขนขวาราหู

เนื้อปลอกลูกปืน ใต้ฐานฝังตะกรุดเงินคู่ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๔๘ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอักษร “ป ป ป” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อส้มฤทธิ์ อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๑,๒๐๐ องค์
ตอกโค๊ด ตัวอักษร “ส” ด้านหลัง ข้างแขนขวาราหู

เนื้อปลอกลูกปืน อุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๑,๒๐๐ องค์

เนื้อเงิน ฝังพญาเหล็ก ตะกรุดสาลิกา และอุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
ตอกโค๊ด “พระปรางค์” และอักษร “ง” ข้างแขนซ้ายของราหู
(ทำบุญกองผ้าป่า ปี ๔๙)

เนื้อปลอกลูกปืน ฝังพญาเหล็ก ตะกรุดสาลิกา และอุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง ๒๔๒ องค์
ตอกโค๊ด และอักษร “ป ป” ข้างแขนขวาของราหู
(ทำบุญกองผ้าป่า ปี ๔๙)

ทรงปิรามิด ตั้งหน้ารถ มี ๓ สี คือ สีแดง, สีน้ำเงิน และสีเขียว
นำรูปเหมือน เนื่อปลอกลูกปืน มาจัดทำสีละ ๒๐๐ องค์ จำนวนรวม ๖๐๐ องค์

ทรงครอบแก้ว ตั้งหน้ารถ
ทำรูปเหมือน เนื้อปลอกลูกปืนมาจัดทำ มีจำนวน ๑๐๐ องค์

ทรงครอบแก้ว แขวนหน้ารถ
นำรูปเหมือน เนื้อปลอกลูกปืนมาจัดทำ มีจำนวน ๑๐๐ องค์